Reflection: Display Mode

เราได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการอบรมวันนี้ (18 สค 2566)

รายงานทางการเงินประกอบไปด้วย 1. งบดุล : งบฐานะสินทรัพย์ หนี้สิน กองทุน และส่วนของเจ้าของ ณ วันนนั้นวันเดียว ใช้รูปแบบ Sheet T Account แบ่งเป็นฝั่ง สินทรัพย์ และ หนี้สิน 2. งบกำไรขาดทุน : Profit & Loss แสดงตัวเลขสะสมของยอดขาย และค่าใช้จ่าย (สัมพันกับวันแสดง ฐานะการเงิน) ตัวอย่าง งบกำไรขาดทุน 1 มค - 31 ธค 2565 งบดุล ณ 31 ธค 2565 สามารถแแสดงเป็นแบบไตรมาส Q1 Q2. Q3. Q4 3. งบกระแสเงินสดระหว่างงวด : การไหลเวียนของเงิน 4. หมายเหตุประกอบการเงิน : สิ่งสำคัญต่อการวิเคราะห์ 1) เกณฑ์การบันทึกบัญชี 2) เกณฑ์สิทธิ (คงค้าง) : Credit term คือรับของ แต่ยังไม่จ่ายเงิน บันทึกเป็นยอดขาย ณ วันที่ขาย. ลูกหนี้การค้า Account Receiveable 3) เกณฑ์เงินสด : รับจ่ายเป็นเงินสด บัญชีบันทึกเป็นสินทรัพย์คงคลัง เจ้าหนี้การค้า Account Payable *เกณฑ์การคิดค่าเสื่อมราคา (Depreceation) จะปรากฎในงบ กำไร ขาดทุน (ค่าเสื่อมราคาสะสม Accomurate Depreceation จะปรากฎในงบดุล) อาคาารใหม่ คิดค่าเสื่อม 20 ปี เครื่องมือเครื่องจักรโรงงาน 10 ปี อุปกรณ์ตัดต่อหนัง 5-6 ปี โน๊ตบุค 2. ปี บัญชีและผู้ตรวจสอบ เป็นผู้กำหนด ร่วมกับ กรมสรรพากร ตัวอย่างการคิดค่าเสื่อม ของมูลค่า 100 ล้านบาท / ค่าเสื่อม 5 ปี ปี 0 1 2. 3 4. 5 มูลค่า 100. 80. 60 . 40. 20. 0 ค่าเสื่อม 20 20 20. 20. 20. 20 ค่าเสื่อมสะสม 20 40. 60. 80. 100 *ค่าเสื่อมมีผลต่อต้นทุน ค่าเสื่อมราคา ตัดเป็นค่าใช้จ่ายทางบัญชีเท่านั้น(เพื่อลดหย่อนภาษีทางบัญชี) * FIFO. First in / First out. 100 @ 10. =. 10 200 @15 = 15 300 @12. = 12 งบการเงินที่หยิบมาวิเคราะห์จะต้องเป้นตัวเลขจริง ที่ไม่ถูกตกแต่งตัวเลข วิเคราะห์ในเชิงปริมาณ + คุณภาพ *เหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อการเงิน เปรียบเทียบกับ Performance ทางการเงินเอาไว้ใช้ 1) ประเมิน Budget 2) ประเมิน KPI BU ประโยชน์จากการรายงานทางการเงิน 1.จุดเริ่มต้นของการวางแผนธุรกิจ *ปัจจัยภายนอกเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ต้องเน้นจุดแข็งและ Oppotunity 2.เพื่อทราบถึงฐานะทางการเงิน ความเข้มแข็งทางการเงิน : มีสภาพคล่องทางการเงิน โครงสร้างเงินทุนเข้มแข็ง : ทุนและหนี้สิน (ถ้าเข้มแข็งสามารถกู้หนี้ได้) *ดูสัดส่วนหนี้สินกับทุน ถ้าไม่ได้ต้องมีการปรับสัดส่วน 3. ใช้ในการเปรียบเทียบ 1) เปรียบเทียบกับคู่แข่ง : การอ่านเกม์ของคู่แข่ง 2) เปรียบเทียบกับตัวเอง : Performance 3) เปรียบเทียบกับอุตสหกรรม : สร้างความแตกต่าง ปลาเร็วกินปลาช้า งบฐานะการเงิน สินทรัพย์ : Current Asset หมุนเวียน / Non Current Asset ไม่หมุนเวียน Current Asset หมุนเวียน : มีสภาพคล่องแปลงเป็นเงินสดได้เร็ว เงินสด : เงินสดในงบดุลไม่มีผลตอบแทน ณ 31/12 มีเงิน 1000 ล้านบาท ณ วันนั้นวันเดียว ยังไม่สามารถตีความได้ ต้องกลับไปดูย้อนหลัง ในแต่ละ Q. เก็บเงินตามฐานนิยม ลูกหนี้การค้า : ตามเกณฑ์สิทธิ ฝ่ายขายจะต้องวิเคราะห์การเงินของลูกหนี้การค้าด้วย การวิเคราะห์ลูกหนี้การค้า - หนี้สงสัยจะสูญ (Allowance for doubtful account) ทีมขายควรมี Credit review ทุกปี หาลูกหนี้การค้าได้จาก หมายประกอบงบ หรืองบกระแสเงินสด การวิเคราะห์อายุลูกหนี้ Aging. 1-30. 0.25% 31-60. 0.6% 61-90 0.75% 91-120. 1% *ยอดขายเพิ่ม = หนี้สงสัยจะสูญเพิ่ม อัตราเพิ่มขึ้นของหนี้สงสัยจะสูญ > อัตราของยอดขาย = เริ่มไม่ดี ต้องดูย้อนหลัง 5-6 ปี 1 เทียบ 2. 2 เทียบ3 3 เทียบ 4 การแก้ปัญหา ให้ Sale เอางบการเงินของลูกค้ามาวิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไข * หากเป็นบริษัทนอกตลากหาข้อมูลได้จาก DBD หากอยู่ในตลาด หาได้จาก SET สินทรัพย์ฐาวรสุทธิ = สุทธิจากราคาสะสม ถ้าเป็นที่ดิน หลักหารบันทึกบัญชี - ราคาตลาดหรือราคาทุนที่ต่ำกว่า บันทึกตัวนั้น ค่าปรับจำหน่าย Amortization (อยู่ในงบกำไร - ขาดทุน) ในรูปแบบบัญชีเท่านั้นไม่ได้เสียจริง เช่น ลิขสิทธิ เทรดมาร์ค Liabilities. หนี้การค้า Ex. 30day 100. (Credit. 30 Day) 2n /10 คือการจ่ายภายใน 10 วัน จะลด 20. (2% / 10 วัน) ข้อดีคือ Cashflow กลับมาเร็วโดยไม่กู้เงินเพิ่ม Non Current Asset สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน แปลงเป็นเงินได้ช้า ควรทำให้เกิดประโยชน์ -เซิร์ฟเวอร์ - ลิขสิทธิ์ เทรดมาร์ค งบกำไร ขาดทุน -ต้นทุนการผลิต 1 แรงงานทางตรง 2.วัสดุสิ้นเปลืองทางตรง 3. ค่าใช้จ่ายในการผลิต -ค่าใช้จ่ายในการขาย ไม่ควรเกิน 7-8% - ค่าใช้จ่ายในการบริหารส่วนใหญ่จะลดได้ยาก เพราะเป็นเงินเดือน ส่วนนี้ไม่ควนเกิน 11% เทียบกับรายได้ งบกระแสเงินสด -กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน : วิเคราะห์จากงบดุล สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน / งบกำไร ขาดทุน -กระแสเงินสดจากการลงทุน : งบดุล สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน - กระแสเงินสดจากการจัดหาเงินทุน : งบดุล หนี้สินระยะยาว และส่วนของผู้ถือหุ้น ตัวอย่าง อัตราส่วน บริษัท A บริษัท B กำไรสุทธิ 100 ลบ 10. ลบ สินทรัพย์ทั้งหมด 10,000 ลบ 100 ลบ ROA. 1%. 10% บริษัท B ดีกว่า ต้องเทียบจากอัตราส่วนทางการเงิน ไม่ดูแค่ตัวเลข งบกระแสเงินสด กระแสเงินสด ปลายงวด เทียบ ต้นงวด สินทรัพย์ หนี้สิน ซื้อ - สินทรัพย์เพิ่มชึ้น เงินสดลดลง หนี้สินลดลง เงินสดลด ขาย - สินทรัพย์ลดลง เงินสดเพิ่มขึ้น หนี้สินเพิ่ม เงินสดเพิ่ม สินทรัพย์ ตรงข้ามกับ เงินสด หนี้สินเงินสด ทิศทางเดียวกัน การวิเคราะห์อัตราส่วนการเงิน ระหว่างบริษัทกับคู่แข่งของบริษัท เพือดูว่าสถานะเราดีกว่าหรือด้อยกว่า ดีกว่ากี่ชั้น ถ้าด้อยกว่าต้องสร้างความแตกต่าง หาเพนพอ๊ยของลุกค้าที่เราจะสามารถเข้าไปตอบโจทย์ได้ ประเภทอัตราส่วน สภาพคล่อง : ความสามารถในการชำระหนี้สินหมุนเวียนได้และเงินที่มีอยู่ อัตราส่วนหมุนเวียน : น้อยกว่า 1 ดี มากกว่า 1 มากๆ ไม่ดี ไม่ควรเกิน 2 ถ้าต่ำกว่า 1 ไม่ควรเกิน 0.7 สินทรัพย์หมุนเวียนมาจาก งบดุล ณ วันนั้นวันเดียว สินค้าคงคลัง : สินค้าที่แปลงเป็นเงินสดได้ช้าที่สุด สินทรัพย์หมมุนเวียน - สินค้าคงคลัง - ลูกหนี้การค้าสุทธิ มีการตั้งสงสัยจะสูญ ประเภทของอัตราส่วน อัตราการหมุนสินค้าคงคลัง Inventory Turn over : คุณใช้สินทรัพย์ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้เท่าไหร่ ยอดขาย Maximize Utility จำนวนเท่ายิ่งสูงยิ่งดี ตัวอย่าง Inventory Turn over ปี 64. 9เท่า 360/9. =40 ปี 65. 2 เท่า 360/2 =130 ใช้ยอดขาย สะสม / สินค้าคงคลัง งบดุลวันนั้นันเดียว *วิะีวิเคราะห์คู่แข่งที่ไม่รุ้ข้อมูล งบต้นงวด +. ปลายงวด / 2 ถ้ารู้ข้อมูล แกะกระแสเงินสด แต่ละไตรมาส Q1 + Q2+ Q3+ Q4. /4
งบดุล คือ การบ่งบอกสถานะ สินทรัพย์ หนี้สิน กองทุน ณ วันที่วันนั้นวันเดียว และวิธีการคิดต้นทุน กำไร ขาดทุนเบื้องต้น
แสดงฐานะทางการเงิน (งบดุล) สินทรัพย์เท่ากับ หนี้สิน + ทุน งบกำไรขาดทุน (P/L) กำไรสุทธิ รายงานทางการเงิน ตัวเลขจริง ใช้เป็นฐานการวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง คุณภาพ การแพลนงบประมาณ ประโยชน์รายงานทางการเงิน ความเข้มแข็งทางการเงิน มีโครงสร้าง มีสภาพคล่อง ปัจจัยอื่นๆ สิ่งแวดล้อมภายนอก หลักการบันทึกบัญชี งบกำไร-ขาดทุน ต้นทุนการผลิต ค่าใช้จ่ายการผลิต การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน วิเคราะห์แนวโน้ม KPI ใช้ประโยชน์สินทรัพย์ ก่อให้เกิดประโยชน์
การอบรมการอ่านงบทางการเงินช่วยให้ผมเข้าใจถึงความสำคัญของการอ่านงบทางการเงิน เรียนรู้คำศัพท์ทางการบัญชี และเคล็ดลับการอ่านงบทางการเงิน งบทางการเงินเป็นเอกสารสำคัญที่แสดงถึงข้อมูลทางการเงินของบริษัท ช่วยให้นักลงทุน และบุคคลทั่วไปสามารถเข้าใจถึงสถานะทางการเงินของบริษัท ความสามารถในการทำกำไร และแนวโน้มในอนาคตของบริษัท การอ่านงบทางการเงินช่วยให้เราเข้าใจถึงสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ ค่าใช้จ่าย กำไรสุทธิ และกระแสเงินสดของบริษัท
แสดงฐานะทางการเงิน (งบดุล) , งบ Balance Sheet (นะวันนั้น) • สถานะสินทรัพย์ หนี้สิน ณ วันสิ้นงวด (วันเดียว) • สินทรัพย์=หนี้สิน + ทุน งบกำไรขาดทุน (P/L) กำไรสุทธิ ขาดทุนสุทธิ • แสดงตัวเลขสะสม • ต้นงวด-ปิดงวด (งบกำไรขาดทุน 1 มค - 31 ธค 2565= งบดุล ณ 31 ธค 2565) • ยอดขาย โชว์รายไตรมาส 4 ครั้ง • ต้นทุนผลิตสื่อ บริหาร • ดอกเบี้ยจ่าย ภาษี • แสดงได้หลายแบบ (แสดงเป็นรายไตรมาส หรือ 4 ไตรมาส) งบกระแสเงินสดสำหรับงวด คือ การไหลเวียนของเงิน หมายเหตุประกอบงบ แสดงรายละเอียดใช้วิเคราะห์ • เกณฑ์การบันทึกบัญชี • เกณฑ์สิทธิ- Credit term หรือ รับของ แต่ยังไม่จ่ายเงิน • เกณฑ์เงินสด ไม่ว่ารายรับ หรือรายจ่าย เป็นเงินสด (เช่นซื้อมา ขายไป) • เกณฑ์การคิดค่าเสื่อมราคา (Depreceation) จะปรากฎในงบ กำไร ขาดทุน • อาคารใหม่ 20 ปี ตัดค่าเสื่อม (20 ปี) ถ้ารีโนเวท นำปีที่เหลือหารจากค่าใช้จ่ายได้เลย (10 ปี) • เครื่องจักรตัดค่าเสื่อม 10 ปี • ค่าเสื่อมราคาจะปรากฏในงบกำไรขาดทุน • ค่าเสื่อมราคา จะปรากฏในงบดุล รายงานทางการเงิน • ตัวเลขจริง ใช้เป็นฐานการวิเคราะห์ และกำหนด Stategy • กลยุทธ์เดิมในปีก่อนๆ • เป็นการวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง คุณภาพ • ตัวเลข Performance/Stategy • การบันทึกจดเหตุการณ์ ช่วยแก้เกม และเปรียบเทียบตัวเลขทางการเงิน • แพลนงบประมาณ • KPI-BU (Business Unit) ประโยชน์รายงานทางการเงิน • ปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอก • ความเข้มแข็งทางการเงิน มีสภาพคล่อง มีโครงสร้างเงินทุน • อัตราส่วนของหนี้และทุน การปล่อยกู้ของธนาคารเป็น 2:1 หลักการบันทึกบัญชี • อยู่ในงบกำไร-ขาดทุน • ค่าตัดจำหน่าย - ค่าตัดจำหน่ายสะสม ต้นทุนการผลิต • ค่าใช้จ่ายการผลิต • วัสดุสิ้นเปลืองทางตรง • แรงงานทางตรง การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน สร้างความแตกต่าง • คู่เข่ง/ลูกค้า มี -pain point/Need/want ของลูกค้า • วิเคราะห์แนวโน้ม • ย้อนหลัง Performance ในอนาคต • อัตราส่วนทางการเงิน Activity improvement เพื่อเพิ่ม Performance • กำหนดเป้าหมายธุรกิจ KPI เงื่อนไขต่าง ๆ ในการกู้ยืม • ชำระหนี้ระยะสั้น – หมุนเวียน -และเหลืออยู่ • มากกว่า 1 จะดี (1>2) ไม่ควรเกินสอง • 0.8 , 0.9 awareness (ต่ำแบบระวัง) • สินค้าคงคลัง แปลงเป็นเงินสดได้ช้า • มีการตั้งสำรองหนี้สงสัยจะสูญ สูงมาก • ใช้ประโยชน์สินทรัพย์ Maximize utility ก่อให้เกิดประโยชน์ Revenue • ต้นงวด+ปลายงวด = หาจำนวน • SET= แกะงบจากงบกระแสเงินสดแต่ละไตรมาส Q1 + Q2 + Q3 +Q4 / 4
เข้าใจกานอ่านงบการเงิน การลงบัญชี วิธีแยกสินทรัพย์ ประโยชน์ขการอ่านงบดุล
(18 Aug 2023) 1. งบดุล หรือ งบแสดงฐานะการเงิน (Balance sheet) คือ งบที่บอกว่า ณ วันนั้นๆกิจการมีสถานะการเงินเป็นอย่างไรบ้าง จากการเปรียบเทียบ สินทรัพย์ และหนี้สิน ซึ่งกิจการที่มั่นคงย่อมมีสินทรัพย์มากกว่าหนี้สินเสมอ สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน - สินทรัพย์หมุนเวียน = มีสภาพคล่อง หมุนเวียนเป็นเงินได้ใน 1 ปี - ลูกหนีการค่า = มีการส่งมอบสินค้า/บริการ แต่ยังไม่ได้รับชำระ (จะเกิดจากลงบัญชีแบบเกณฑ์สิทธิเท่านั้น) และต้องมีการประเมิณ หนี้สงสัยจะศูนย์ 2. งบกำไรขาดทุน (Income statement or Profit and Loss) คือ งบที่แสดงผลการดำเนินงานของกิจการว่าดีหรือไม่ ในระหว่างช่วงระยะเวลาหนึ่ง (Yearly, 6 months, quarterly) เป็นงบที่ช่วยให้เราเข้าใจผลประกอบการของกิจการว่ามีกำไรหรือไม่ และกำไรเกิดจากการอะไร งบนี้ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยๆ ทั้งในฝั่งรายได้ และค่าใช้จ่ายที่ช่วยให้เจ้าของกิจการมองเห็นที่มาที่ไปของกำไรขาดทุนได้ชัดเจนขึ้น *ต้องคิดค่าเสื่อมราคาสุทธิรวมเข้าไปด้วย (สินทรัพย์ถาวรสุทธิ = สินทรัพย์ – ค่าเสื่อมราคาสะสม) * ต้นทุนการผลิตจะประกอบไปด้วย 1.แรงงานทางตรง 2.ค่าวัสดุสิ้นเปลืองทางตรง 3.ค่าใช้จ่ายในการผลิต 3. หมายเหตุประกอบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน (Notes to Financial Statement) คือข้อมูลที่แสดงเพิ่มเติมต่อจากข้อมูลที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน เป็นการอธิบายภาพรวมของที่มาที่ไปของตัวเลขในงบการเงินขาดทุน เป็นงบที่ช่วยให้เราเข้าใจผลประกอบการของกิจการว่ามีกำไรหรือไม่ และกำไรเกิดจากการอะไร งบนี้ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยๆ ทั้งในฝั่งรายได้ และค่าใช้จ่ายที่ช่วยให้เจ้าของกิจการมองเห็นที่มาที่ไปของกำไรขาดทุนได้ชัดเจนขึ้น - ส่วนที่ 1 ของหมายเหตุประกอบงบการเงิน อธิบายรายละเอียดทั่วไปของบริษัทว่าประกอบธุรกิจอะไร และนโยบายการบัญชีต่างๆ ของบริษัท - ส่วนที่ 2 ของหมายเหตุประกอบงบการเงิน อธิบายรายละเอียดเพิ่มเติมแต่ละบัญชีในงบการเงิน เช่น ลูกหนี้ สินค้าคงเหลือ ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ ซึ่งนอกจากจะเห็นแค่ตัวเลขในงบการเงิน ก็จะทำให้ทราบเรื่องอื่นๆ ที่ละเอียดยิ่งขึ้น เช่น สินค้าคงเหลือ ในงบการเงินจะมีรายละเอียดแค่วันที่สิ้นงวดบริษัทมีสินค้าคงเหลือค้างอยู่เป็นจำนวนกี่บาท แต่ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน จะมีรายละเอียดเพิ่มเติมคือทำให้ทราบสินค้าคงเหลือแต่ละประเภทว่ามียอดเท่าไหร่ - ส่วนที่ 3 ของหมายเหตุประกอบงบการเงิน อธิบายเรื่องอื่นๆ ที่ไม่เห็นในงบการเงิน เช่น ข้อมูลจำแนกตามส่วนงาน ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น การค้ำประกัน คดีความฟ้องร้อง ความเสี่ยงต่างๆ เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน เป็นต้น 4. งบกระแสเงินสด (statement of Cash flow) * สินทรัพย์ มีทิศทางตรงกันข้ามกับเงินสด * หนี้สินมีทิศทางเดี่ยวกันกับเงินสด * การวิเคราะห์การเงิน ต้องวิเคราะห์จากอัตราส่วน (Ratio Analysis) งบกระแสเงินสด คืองบบอกที่มาที่ไปของเงินสดว่ากิจการมีกระแสเงินสดเข้าและเงินสดออกจากกิจกรรมอะไรบ้างและงบนี้จะบอกการเดินทางของเงินสดตลอดช่วงเวลาหนึ่ง โดยการเปรียบเทียบระหว่างต้นงวดและปลายงวด เงินสดเข้า-ออกจะแบ่งออกเป็น 3 กิจกรรมหลักๆ 1. กิจกรรมดำเนินงาน (Cash Flow from Operating: CFO) คือ กิจกรรมหลักที่ก่อให้เกิดรายได้และค่าใช้จ่ายในธุรกิจ ที่มีทั้งการรับ (เป็นเครื่องหมายบวก) และการจ่าย (เครื่องหมายลบ) ประกอบไปด้วย งบดุล, สินทรัพย์หมุนเวียน และ หนี้สินหมุนเวียน 2. กิจกรรมการลงทุน (Cash Flow from Investing: CFI) คือ กิจกรรมที่เกี่ยวกับการลงทุนในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอย่างที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ หรือใช้เงินลงทุนในรูปแบบอื่นๆ ตัวอย่างเงินสดรับและจ่าย (งบดุล, สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนและหนี้สินไม่หมุนเวียน) 3. กิจกรรมการจัดหาเงิน (Cash Flow from Financing: CFF) คือ กิจกรรมที่เกี่ยวกับการจัดหาเงินของกิจการ โดยปกติแล้วจะมาจาก 2 ทางคือ การกู้ยืมเงิน หรือผู้ถือหุ้นลงทุนเพิ่ม ตัวอย่างเงินสดรับและจ่าย (งบดุล, หนี้สินทรัพย์ระยะยาว และส่วนของผู้ถือหุ้น)
งบแสดงสถานะทางการเงิน ญ วันสิ้นงวด (งบดุล) – Balance Sheet - แสดงสถานะ ณ วันนั้นวันเดียว - Balance คือดุลสินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน - รวมค่าเสื่อมสะสมด้วย งบกำไรขาดทุน – P&L - แสดงออกมาเป็น Annual Basis, Quarterly Basis, Biannual Basis. - แสดงยอกขายและค่าใช้จ่าย ออกมาเป็น P&L เกณฑ์การบันทึกบัญชี - เกณฑ์สิทธิ (คงค้าง) Credit Term - เกณฑ์เงินสด รับเป็นเงินสด - ลูกหนี้การค้า (Account Receivable) - เจ้าหนี้การค้า (Account Payable) หมายเหตุประกอบงบการเงิน - เป็นปัจจัยสำคัญในการวิเคราะห์ การเงิน ทำให้เราสามารถเข้าใจรายละเอียดของบรรทัดต่างๆ และสามารถนำไปเปรียบเทียบกับคู่แข่งในตลาดได้ Depreciation (ค่าเสื่อม) ค่าเสื่อมจะปรากฏใน P&L ส่วนค่าเสื่อมสะสมจะปรากฏใน Balance Sheet - อาคารสร้างใหม่ 20 ปี - เครื่องจักร 10 ปี - อุปกรณ์ถ่ายทำ 5-6 ปี Financial Statement - การวิเคราะห์อดีต ปัจจุบัน และอนาคต - สอดคล้องกับการวางกลยุทธ์ ทำให้เห็นปัจจัยภายในและภายนอกที่ส่งผลกับบริษัท - ทราบถึงสภาพคล่อง - ทำให้เราเห็นจุดอ่อน จุดแข็งที่อยู่ในการดำเนินงาน - เป็นปัจจัยการประเมินแบบ Quantitative ใช้มาเทียบกับ Qualitative งบฐานะทางการเงิน 1. สินทรัพย์ (Assets) - สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) มีการดำเนินการแปลงเป็นเงินสดได้ภายในหนึ่งปี - ลูกหนี้การค้า เราควรมีการวิเคราะห์การเงินของลูกหนี้การค้า ควรมี Credit Review ทุกปี อาจเจอหนี้สงสัยจะสูญ - ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร (Fixed Assets) เป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (Non-Current Assets) - หลักการบัญทึกบัญชีของที่ดินแบบ conservative คือนำราคาตลาดมาเทียบกับราคาประเมิน - สินทรัพย์ถาวรสุทธิ = มูลค่าหลังหักค่าเสื่อมสะสม 2. หนี้สิน (Liabilities)
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอบรมในหัวข้อ "อ่าน และวิเคราะห์งบการเงินเพื่อการตัดสินใจ" ในวันที่ 18 สิงหาคม 2566 คือ ทำให้ได้ทราบถึงประโยชน์ของเอกสารงบการเงินของบริษัท และเห็นว่าตัวเลขที่ปรากฎอยู่ในงบการเงินนั้น สามารถสะท้อนถึงความสามารถในการบริหารงานของทีมบริหาร แผนกลยุทธ์ในการดำเนินงาน สถานะภาพของบริษัท เป็นต้น (หากตัวเลขที่ปรากฏนั้นเป็นตัวเลขที่เกิดขึ้นจริง ไม่ได้ผ่านการตกแต่งบัญชี) นอกจากนี้ยังได้เรียนรู้ว่า งบดุล งบกำไรขาดทุน และงบกระแสเงินสดนั้นมีความสัมพันธ์กัน โดยที่งบดุลอาจจะแสดงเป็นภาพรวมของการทำธุรกิจ ซึ่งจะเห็นแสดงสินทรัพย์ หนี้สิน และทุนของเจ้าของเอง ว่ามีสถานภาพเป็นอย่างไร โดยที่งบกำไรขาดทุนนั้นจะแสดงให้เห็นถึงรายละเอียดในส่วนของการทำมาค้าขาย ว่า ธุรกิจที่เราดำเนินงานอยู่นั้นมีรายได้ มีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง และสุดท้ายแล้วเมื่อหักค่าใช้จ่ายทุกอย่าง เราเหลือเงินที่ได้จากการดำเนินธุรกิจเท่าไหร่ ซึ่งเงินที่เหลือจากการดำเนินการในงบกำไรขาดทุน ก็จะเป็นกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน ซึ่งถ้าหากเจ้าของบริษัทมีการลงทุนอย่างอื่นเพิ่มเติม เช่น ลงทุนกับสถานประกอบการเพิ่ม ก็จะทำให้เงินสดเกิดกระแสเงินสดจากการลงทุนต่อมา และหากเงินสดที่มีอยู่ ไม่เพียงพอต่อการลงทุนในสถานประกอบการ ก็ทำให้ต้องเกิดการแสเงินสดจากการหาทุนเพิ่ม เพื่อให้งบนั้นดุลกัน ดังนั้นกระเงินสดทั้ง 3 อย่างที่กล่าวไปนั้นก็คืองบกระแสเงินสด และสามารถวิเคราะห์ได้จากงบดุลนั้นเอง
สรุปบทเรียน Finance for Non-Finance 1st วันที่ 18 สิงหาคม 2566 อ่านและวิเคราะห์งบการเงินเพื่อการตัดสินใจ โดย อ. เหรียญชัย นำชัยศรีค้า การอ่านงบการเงินมีประโยชน์ ในการวางแผนทำธุรกิจ หรือการเริ่มทำโปรเจ็คต่างๆ เพื่อให้ทราบถึงสถานะในการดำเนินงานของบริษัทของเรา และบริษัทคู่ค้าต่างๆ รายงานทางการเงิน ประกอบด้วย: สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น งบกำไรขาดทุน และกระแสเงินสด **ทีมขาย ควรมีการทำเครดิตรีวิวทุกปี เพื่อจะได้วิเคราะห์งบการเงินของลูกค้า เอาไว้ประเมินหนี้สงสัยจะสูญได้ โดยสามารถหาข้อมูลได้จาก หมายเหตุประกอบงบว่ามีการตั้งหนี้สงสัยจะสูญเท่าไหร่ย้อนหลัง 5-6 ปี หรือเช็คในงบกระแสเงินสด หลักการบันทึกบัญชี: ราคาตลาดกับมูลค่าราคาทุน อันไหนต่ำกว่าให้บันทึกตัวนั้น งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับงวด (P&L) งบแสดงตัวเลขสะสมตั้งแต่ต้นงวดจนปิดงบ สะสมยอดขาย ต้นทุนการผลิต ดอกเบี้ยจ่าย ภาษี ค่าใช้จ่าย ในการบริหาร ท้ายสุดคือกำไร สุทธิ หรือ ขาดทุนสุทธิ โดยจะนับระยะเวลาตั้งแต่ ทุก 1 มค. - 31 ธค ต้นทุนการผลิต: มีแรงงานทางตรง, วัสดุสิ้นเปลืองในการผลิต, ค่าใช้จ่ายในการผลิต ต้นทุนบริการ: มีแรงงานทางตรง, วัสดุสิ้นเปลืองในการบริการ, ค่าใช้จ่ายในการบริการ กำไรขั้นต้น ควรมีอย่างน้อย 30% ค่าใช้จ่ายในการขาย ไม่ควรเกิน 7% สูงสุด 8% ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ลดไม่ได้ แต่ไม่ควรเกิน 11% เมื่อเทียบกับรายได้ หรือสูงสุด 13% ภาษี เรท 20, 25 ** ฝ่ายขายควรทำรายได้ 20 เท่าของต้นทุนเงินเดือน ถึงเรียกว่าคุ้ม CAST COW: วัวทำเงิน คือ ธุรกิจที่ทำเงินได้ตลอด ถึงกำไรจะไม่มาก แต่ก็ควรดำเนินงานต่อไป และหาทางลดต้นทุนแทน งบกระแสเงิน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดำเนินงาน วิเคราะห์จากงบดุล ในสินทรัพย์หมุนเวียน หนี้สินหมุมเวียน และงบกำไรขาดทุน กระแสเงินสดจากการลงทุน สินทรัพย์ถาวรจากการลงทุน เช่น ลิขสิทธิ์หนัง การแสเงินสดจากการจัดหาเงินทุน งบดุลในส่วนหนี้สินระยะยาว และส่วนผู้ถือหุ้น ปลายงวด เทียบ ต้นงวด สินทรัพย์ลดลง เงินสดเพิ่มขึ้น เงินสดลดลง สินทรัพย์เพิ่มขึ้น หนี้สินเพิ่มขึ้น เงินสดเพิ่มขึ้น หนี้สินลดลง เงินสดลดลง หนี้สินเพิ่มทุน เงินสดเพิ่มขึ้น สรุปโดย พรวิรุณ แก้วทอง
Workshop Finance For Non Finance งบดุล คือ การบ่งบอกสถานะ สินทรัพย์ หนี้สิน กองทุน ณ วันที่วันนั้นวันเดียว ซึ่งสามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก - รวมสินทรัพย์ - รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน - หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น - หมายเหตุประกอบงบ 3 กับ 5 Balance Sheet - T Account งบการเงินรวม คือ งบหลายๆบริษัทรวมกัน งบกำไรขาดทุน Profit & Loss 8คือ รายการแสดงตัวเลขสะสม จากยอดขาย การบริหาร ดอกเบี้ยจ่าย ภาษี เป็นต้น - กำไรสุทธิ - ขาดทุนสุทธิ - ตัวอย่าง - งบกำไรขาดทุน 1 มค - 31 ธค 2565 - งบดุล ณ 31 ธค 2565 - แสดงได้หลายรูปแบบ - ทุกๆ 3 เดือน (รายไตรมาส, 4 ไตรมาส ต่อปี) - Q1 > 1/01 - 31/03 - Q2 > 1/04 - 30/6 - Q3 > 1/07 - 30/9 - Q4 > 1/10 - 31/12 - 6 เดือน - 1 ปี งบกระแสเงินสดระหว่างงวด คือ การไหลเวียนของเงิน หมายเหตุประกอบงบ คือ เป็นองค์ประกอบที่สำคัญเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ เช่น ลูกหนี้การค้า - เกณฑ์การบันทึกบัญชี - เกณฑ์สิทธิ (คงค้าง) คือ Credit term หรือ รับของ แต่ยังไม่จ่ายเงิน - บัญชีจะบันทึกเป็นยอดขาย ณ วันที่ขาย - บัญชีจะบันทึกในส่วนของ ลูกหนี้การค้า Account Receiveable - ทางบัญชีจะลบรายการการค้า และ เปลี่ยนเป็นเกณฑ์เงินสด (ในกรณีที่ถึงงวดการจ่ายจริง ตาม Credit term) - เกณฑ์เงินสด ไม่ว่ารายรับ หรือรายจ่าย เป็นเงินสด (เช่นซื้อมา ขายไป) - บัญชีบันทึกเป็นสินทรัพย์คงคลัง (ในกรณีที่ยังไม่ใช้งาน) และ - บัญชีอีกฝ่ายบันทึกเป็นค่าใช้จ่าย - ในกรณีนี้บัญชีจะบันทึกเป็น เจ้าหนี้การค้า Account Payable - หมายเหตุ - ในกรณี ซื้อมา และ ใช้เลย บัญชีจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่าย - สินทรัพย์คงคลัง คือ สินทรัพย์ที่ใช้แล้วหมดไป - สินทรัพย์ถาวร คือ สินทรัพย์ที่การคิดค่าเสื่อมราคา - หมายเหตุ: อาจดูนโยบายของแผนกบัญชีร่วมด้วย (ขึ้นอยู่กับการปิดงบ / ข้อตกลงกับ Vendor) - เกณฑ์การคิดค่าเสื่อมราคา (Depreceation) จะปรากฎในงบ กำไร ขาดทุน (ค่าเสื่อมราคาสะสม Accomurate Depreceation จะปรากฎในงบดุล) จะเป็นผลต่อต้นทุนการผลิตของบริษัท / ค่าเสื่อมราคา ตัดเป็นค่าใช้จ่ายทางบัญชีเท่านั้น(เพื่อลดหย่อนภาษีทางบัญชี) เงินสดไม่ได้ออกไปจริง / เงินมีผลต่อ กำไร-ขาดทุน ขึ้นอยู่กับนัยทางบัญชี - ถ้าเป็นอาคารใหม่ จะคิดค่าเสื่อม 20 ปี - ในกรณีถ้าบริษัทเช่าตึก อาคาร ให้บันทึกเป็นค่าเช่า - เครื่องมือโรงงาน จะคิดค่าเสื่อม 10 ปี - อุปกรณ์ตัดต่อหนัง จะคิดค่าเสื่อม 5-6 ปี (Fact: ลูกศิษย์อาจารย์) - ปัจจุบัน Notebook จะคิดค่าเสื่อม 2 ปี - ถ้าเช่าซื้อ จะไม่คิดค่าเสื่อม แต่คิดเป็นค่าเช่า - หมายเหตุ บัญชีเป็นผู้กำหนด แต่ต้องให้ผู้ตรวจสอบยอมรับเกณฑ์ และอธิบายให้กรมสรรพากรเข้าใจตามเงื่อนไข / ถ้าไม่มีเกณฑ์ - การคิดค่าเสื่อมราคา - รายปี - ทวีคูณ - Stage Line = ปัจจุบันถูกคิดแบบนี้ - เกณฑ์ลูกหนี้การค้า - ถ้าในเอกสารบัญชี ไม่มี เกณฑ์ลูกหนี้การค้า = การจ่ายเป็นเงินสด - Ex: Inventory งบการเงิน เงื่อนใข - งบตัวเลขจริง - ต้องไม่มีการตกแต่งตัวเลขทางบัญชี - ควรจด Situation / Strategic among the year that related with performance and result of business - เป็นการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง เชิงปริมาณ เทียบกับ คุณภาพ เพื่อเป็นตัวเลขยืนยัน วัตถุประสงค์ - การกำหนด Strategic Plan related with the Future plan - ทำแผนงบประมาณ - ประเมิน KPI ในแต่ละ BU การวิเคราะห์งบการเงินใช้เพื่อเปรียบเทียบ - คู่แข่ง ที่อยู่ในระดับเดียวกัน - ถ้างบทางการเงินเปิดเผย และไม่มีการตกแต่งตัวเลข บริษัทคู่แข่งสามารถนำมาวิเคราะห์ เกณฑ์จากงบการเงินได้ - ดูคู่แข่งทำอะไร และ เราทำอะไรอยู่ - ทำอะไร - เราเป็นผู้นำ หรือ ผู้ตาม (How much the step from other) - สร้างความแตกต่างทางธุรกิจ - Strategic > ปลาเร็ว กิน ปลาช้า - ตัวเราเอง - ต้องปรับ Performance หรือ Strategic อะไรบ้างหลังจากนี้ - อุสาหกรรม (Industry) ประโยชน์จากรายงานทางการเงิน - เป็นจุดเริ่มต้นของการวางแผนธุรกิจ - ธุรกิจต้องการอะไร / หาอะไรเพิ่ม / การ Scale up - ปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอกเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา / Oportunity & Test - Strangeness of - เพื่อให้ทราบถึงสภานะทางการเงิน ว่าบริษัทยังเข้มแข็งอยู่หรือไม่ - เพื่อดูสภาพคล่องทางการเงิน - เพื่อวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง งบฐานะการเงิน สินทรัพย์ Assets - Current Assets สินทรัพย์หมุนเวียน คือ มีสภาพคล่อง แปลงเป็นเงินสดได้เร็ว / รายการมีการดำเนินการแปลงเป็นเงินสดภายใน 1 ปี - เงินสด - ไม่มีผลตอบแทน เป็นการถือเพียวๆ - ณ 31/12 มีเงิน 1000 ล้านบาท ณ วันนั้นวันเดียว ยังไม่สามารถตีความได้ ต้องกลับไปดูย้อนหลัง ว่า ถือเงินสดจริงในแต่ละ Q อยู่เท่าไหร่ (การบริหารในแต่ละธุรกิจ) - นำเงินไปลงทุน - ถือเพื่อดอกเบี้ย - เก็บเงินตามฐานนิยม + 10% (เงินสภาพคล่องรายวัน) หากใช้จ่ายเกิน ธนาคารจะตัด OD(เงินเบิกเกินบัญชี-Over Dark) เข้า อัตโนมัติ - ในตลาดหลักทรัพย์สามารถ ดึงเงินใน Q มาบริหารก่อนได้ - ช่วงเวลา 1/10-29/12 > บัญชีบริหารแบบปกติ แต่อาจมีการที่ลูกค้า โอนเงินเข้ามาในระบบพร้อมกันได้ ทำให้ถือเงินสดมากขึ้น - หากไม่ได้อยู่ในระบบ ตลาดหลักทรัพย์ สามารถ หาเงินจาก DBD ได้ - สามารถตกแต่งงบการเงินได้ แต่ต้องสัมพันธ์กับกรรมสรรพากร - ลูกหนี้การค้า เกิดจากการขายของ ที่มี P&D แต่ยังไม่ได้รับเงิน มี Credit Term / ทีมขายต้องวิเคราะห์งบการเงินลูกค้าอย่างดี และ มีสภาพคล่องในอนาคต - การวิเคราะห์ ลูกหนี้การค้าสุทธิ - หนี้สงสัยจะสูญ (Allowance for doubtful account) - ตั้งตาม Credit Term - ตั้งตามลูกหนี้การค้า ตามนโยบายของฝ่ายบัญชี - ขึ้นอยู่กับฝ่ายขาย - ยอดขายเพิ่มขึ้น หนี้สงสัยจะสูญจะเพิ่มตาม (คิดตามอัตราการเพิ่มขึ้นตามยอดขาย และ คิดตามอัตราการเพิ่มขึ้นตามหนี้สงสัยจะสูญ) - หากอัตราการเพิ่มขึ้นตามหนี้สงสัยจะสูญ มีมากมากมากกว่า อัตราการเพิ่มขึ้นตามยอดขาย อาจเกิดปัญหาอะไรบางอย่างได้ แต่ไม่สามารถวิเคราะห์อย่างชัดเจนได้ว่า สิ้นค้าลดคุณภาพ - จะแก้ปัญหาอย่างไร - ทีมขายเอางบการเงินของลูกค้ามาวิเคราะห์ ว่าติดขัดตรงไหน (ของบการเงินจริง) - หาแนวทางเข้าไปบอกลูกค้า เพื่อปรับ และ พัฒนา - ทั้งนี้อาจจะดูจากข้อมูลย้อนหลังไปอีก 5 ปี - บริษัท ควรมี Credit review ทุกปี - หาจากหมายเหตุประกอบงบ และงบกระแสเงินสด - การวิเคราะห์อายุลูกหนี้ลูกค้า - Aging - 1-30 0.25% - 31-60 0.6% - 61-90 0.75 - 91-120 1% - - สินค้าคงคลัง Inventory - มีเรื่องการคิดต้นทุนสุทธิ ????? - Non Current Assets สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รายการมีการดำเนินการแปลงเป็นเงินสดมากกว่าใน 1 ปี - Fixed Assets สินทรัพย์ถาวร เช่น ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร ใช้เวลานานในการแปลงเป็นเงินสด - Server ซื้อเพราะต้องใช้เก็บข้อมูลของบริษัท - สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ต้องสร้างให้เกิดประโยชน์สูงสุด - Conservative Theory - ที่ดินราคาตลาด หรือ ราคาต้นทุน ที่ต่ำกว่า บันทึกตัวนั้น - ระวังจะกลายเป็นที่ดินตาบอด - ต้องดูปัจจัยภายนอกควบคู่ไปด้วย - สินทรัพย์ถาวรสุทธิ - ค่าเสื่อมราคาสะสม - ค่าตัดจำหน่าย Amortization จะอยู่ในงบ กำไร ขาดทุน - ลิขสิทธิ์ต่างๆ - ตัดเป็นค่าใช้จ่ายตามรูปแบบบัญชี หนี้สิน (Liabilities)และส่วนของเจ้าของ - หนี้สินหมุนเวียน - เจ้าหนี้การค้า - เราเป็นลูกหนี้ ยิ่งจ่ายช้ายิ่งดี - Ex Credit term 30 วัน ต้องจ่าย 100 บาท หรือ มีคิดจากสูตร 2n/10(จ่ายภายใน 10 วันลด 2% หรือ ส่วนลด 2% ต่อ 10 วัน) หรือ n/20 แต่ต้องมีสภาพคล่องทางการเงิน และข้อดีคือ การเรียกเงินเข้าระบบโดยไม่ต้องกู้เงินเพิ่ม Pro&Con > ต้องคิดในระยะยาว เพื่อการลงทุน - เงินกู้ระยะสั้น งบกำไรขาดทุน - ***ต้นทุนรายการโทรทัศน์ - ***ต้นทุนคอนเสิร์ตและละครเวที - ***ต้นทุนรับจ้างจัดงาน - ต้นทุนค่าบริหารจัดการ - ต้นทุนขายสินค้าและบริการอื่นๆ ต้นทุนการผลิต / ต้นทุนการบริการ - แรงงานทางตรง - วัสดุสิ้นเปลืองทางตรง - ค่าใช้จ่าย ในการผลิต / บริการ - ค่าเสื่อม - ค่าไฟ - ค่าน้ำ - ค่า Maintenance การปันส่วนค่าใช้จ่าย Allocate cost Break Down by sale Break Down by cost สรุป A ไม่ติดตลาด และไม่สามารถฟื้นฟูสภาพไม่ได้ หรืออีกนัยหนึ่ง คือ ต้องมี วัวทำเงิน Cash Cow / Maintain และ ลด Cost ต้นทุน และ การคิดเชิงกลยุทธ์ ค่าใช้จ่ายในการบริหาร - ไม่ควรเกิน 11% เมื่อเทียบกับรายได้ ถ้าเกิน อนุญาตให้ ไม่เกิน 13% - ปกติจะไม่สด เพราะค่อนข้าง Sensitive ค่าใช้จ่ายในขาย - ไม่ควรเกิน 7% แต่ไม่ควรเกินกว่า 8% ต้นทุนทางการเงิน - ไม่เกี่ยวข้องกับพนักงาน เกี่ยวข้องกับ CFO (หนี้สินระยะยาว) ภาษี - ถูกกไหนดจากกรมสพรรรพากร งบกระแสเงินสด การเคลื่อนไหวของเงินสดเข้าและเงินสดออก สำหรับงวดระยะเวลาหนึ่ง - ต้นงวด - ปลายงวด หมายเหตุ #100+0+100 (ลงทุนบริษัทตั้งต้น ณ วันนี้) สินทรัพย์หรือ เครื่องจักร เพิ่มขึ้น เงินสดไหลออก 100=100 #ปลายงวดเทียบต้นงวด สินทรัพย์ลดลง เงินสดเพิ่มขึ้น ต้นงวดเทียบ ปลายงวด สินทรัพย์เพิ่มขึ้น เงินสดเพิ่มขึ้น สินทรัพย์ มีทิศทาง ตรงกันข้าม กับเงินสด #ปลายงวดเทียบต้นงวด หนี้สินเพิ่มขึ้น เงินสดเพิ่มขึ้น หนี้สิน มีทิศทาง เดียวกัน กับเงินสด #เจ้าหนี้การค้าลดลง เงินสดลดลง เจ้าหนี้การค้า มีทิศทาง เดียวกัน กับเงินสด #อัตราการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ มากกว่า อัตราการเพิ่มขึ้นของหนี้สิน = เงินสดลด **รายได้มีทิศทางเดียวกับเงินสด ค่าใช้จ่ายมีทิศทางตรงข้ามกับเงินสด **กิจกรรมการจัดการดำเนินงาน - วิเคราะห์จากงบดุล - สินทรัพย์หมุนเวียน และ หนี้สินหมุนเวียน และ กำไร ขาดทุน (Current Asstet / Current Lia / Profit&Loss) **การลงทุน - วิเคราะห์จากงบดุล - สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์ถาวร (ลิขลืทธิ์ โปรแกม) **กิจกรรมการจัดหาเงินทุน - วิเคราะห์จากงบดุล - หนี้สินระยะยาว / ส่วนของผู้ถือหุ้น ***ต้องดูอัตราส่วนของการเงิน > เทียบกับฐาน 1 หน่วย ที่เทียบได้ การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน *** Red Ocean (ในกรณีที่คู่แข่งตามทัน) *** Differently *** Need / Want / Pain Point การวิเคราะห์แนวโน้ม - Performance ลบ หรือ บวก เมื่อเทียบ Opportunity / Test - Activity ในการเพิ่ม Improvement การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม กำหนดเป้าหมาย - สามารถ Setting KPI - Goal Setting กำหนดเงื่อนไขต่างๆในการกู้ยืม - Clean Roan (หลักการการกู้ยืมก่อน วิกฤตต้มยำกุ้ง) - มีการกำหนดเงื่อนไขไม่ให้เกิดหนี้เสีย (NPL) สภาพคล่อง - บกบอกในความสามารถในการชำระหนี้สินระยะสั้นได้ดี หรือ - สามารถชำระหนี้สินหมุนเวียนได้หมด และยังมีสินทรัพย์หมุนเวียนอยู่ - อัตราส่วนหมุนเวียน (Current Ratio)= มากกว่า 1 ดี ห้ามเกิน 2 (บอกงบดุล ณ วันนั้นวันเดียว) แต่ถ้ามีมากกว่า 1 มากๆไม่ดี และไม่ควรต่ำกว่า 0.8 (แต่ต้อง Awareness) - อัตราส่วนสภาพคล่องอย่างจำกัด (Quick Ratio) - ทำไมถึงต้องลบกับสินค้าคงคลัง (เพราะแปลงเป็นเงินสดได้ช้าที่สุด) ถ้าต่ำกว่า 1 ต้องไปวิเคราะห์แล้ว ว่ามีมากเกินไปหรือเปล่า - ทำไมต้องลบด้วยลูกหนี้การค้าสุทธิ (มีการตั้งสำรองหนี้สงสัยจะสูญ) แต่ถ้ามี Allowance ประกอบ ก็ไม่ต้องนำมาลบ การบริหารสินทรัพย์ (Inventory Turn Over) บกบ่องถึงการก่อประโยชน์สูงสุดจากสินทรัพย์เท่าไหร่ (ยอดขาย) คือ Maximize unility / เกิดสินค้าและบริการ และยอดขายสูงสุด - อัตราการหมุนสินค้าคงคลัง > ยิ่งสูงยิ่งดี เกิน สิบได้ยิ่งดี - แปลงเป็นจำนวนวัน ยิ่งน้อยยิ่งดี > ยิ่งใช้น้อยวัน เงินยิ่งเข้าเร็ว Inventory Turn Over 64 = 8 Inventory Turn Over 65 = 2 หมายความว่า ขายได้น้อยลง / สินค้าคงคลังมาก / อย่าพึ่งตัดสินใจ ** อาจมีการขอดูงบดุลย้อนหลัง ** ในการวิเคราะห์ สินค้าคงคลัง - งบการเงินต้นงวด + ปลายงวด / 2 ** ถ้าอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ จะเกะงบจากกระแสเงินสด ตามไตรมาส หรือ Q1 + Q2 + Q3 + Q4 / 4 ยอดขาย คิดจาก กำไร ขาดทุน สินค้าคงคลัง คิดจาก งบดุล
งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันสิ้นงวด หรือ งบดุล - นับเป็นสรุปแค่วันนั้นวันเดียว งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับงวด - Profit and loss สะสมจากต้นปี เป็นการแสดงณ วันสิ้นงวด หรือ yearly หรือ quartery ก็ได้ หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุเพื่อใช้ประกอบการวิเคราะห์ตัวเลข - เกณฑ์การบันทึกบัญชี - เกณฑ์คงค้าง(สิทธิ) = credit term คือ รับของหรือบริการแล้วแต่จ่ายเงินตามหลัง ส่วนมากจะเป็น 30 วัน บัญชีจะบันทึกเป็นการขาย ณ​ วันที่ที่ขายออกไป แต่จะจดไว้ว่าเป็น ‘ลูกหนี้การค้า’ แค่เฉพาะช่วงรอรับเงิน - เกณฑ์เงินสด = ลงบันทึกเหมือนการทำ รายรับรายจ่าย คือรับของแล้วจ่ายเงิน ณ ตอนนั้นเลย ไม่มี credit term - ค่าเสื่อม (Depreciation) - อาคารใหม่ตัดค่าเสื่อมที่ 20 ปี - เครื่องจักรตัดค่าเสื่อมที่ 10 ปี (การตัดค่าเสื่อมขึ้นอยู่กับอุสาหกรรม) - ค่าเสื่อมราคาสะสม = Accumulation แปลพันตาม Depreciation ที่หักไป จุดเริ่มต้นของการวางแผนธุรกิจ - Opportunity & threat เป็นปัจจัยหลักในการวิเคราะห์ เพื่อให้ทราบถึงสถานะทางการเงินของบริษัทว่ายังมีความเข้มแข็งอยู่หรือไม่ - สภาพคล่อง (เงินสด) - โครงสร้างระหว่างเงินทุน และหนี้สิน งบฐานะการเงิน Balance sheet ประกอบด้วย Asset = Equity + Liabilities - Current asset สินทรัพย์หมุนเวียน เช่น เงินสด เช็ค Inventory ลูกหนี้ที่มีอายุน้อยกว่า 1 ปี - Non current asset สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เช่น ลูกหนี้ที่มีอายุมากกว่า 1 ปี - เงินกู้ระยะสั้น = Current Liabilities - 2n/10 n/20 - เป็นสูตรคร่าวๆ ว่าถ้าให้ลูกหนี้จ่ายเร็วขึ้น และ offer ส่วนลดให้เลย - ทำให้ได้มาซึ่ง cashflow กลับมาได้เร็วขึ้นโดยที่ไม่ต้องกู้เพิ่ม เพราะ ดอกเบี้ยที่ให้จะถูกกว่าดอกเบี้ยเงินกู้เสมอ - IP / Trademark / Copyright - Fixed assets > ค่าตัดจำหน่าย > อยู่ในงบกำไร การใช้อัตราส่วนทางการเงิน - การวิเคราะห์แนวโน้ม - Request post performance เพื่อหากลยุทธ์ เพื่อเพิ่ม improvement ในอนาคต - การเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมเดียวกัน - วิเคราะห์แต่ละอัตราส่วนแล้วเทียบว่าเราด้อยหรือสูงกว่าคู่แข่ง - การกำหนดเป้าหมายของธุรกิจ - เป้าหมาย KPI > leads to budget - การกำหนดเงื่อนไขต่างๆในการกู้ยืม - เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคมในเวลานั้นๆ เพื่อให้เหมาะสมกับธุรกิจ
Finance homework #week1 งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันสิ้นงวด หรือ งบดุล - นับเป็นสรุปแค่วันนั้นวันเดียว งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับงวด - Profit and loss - สะสมจากต้นปั - สามารถทำเป็น yearly หรือ quartery ก็ได้ - ตัวเลขสะสม = ยอดขาย, แสดงค่าใช้จ่าย, กำไร, ขาดทุน หมายเหตุประกอบงบการเงิน - อธิบายหมายเหตุเพื่อใช้ประกอบการวิเคราะห์ตัวเลข - เกณฑ์การบันทึกบัญชี - เกณฑ์คงค้าง(สิทธิ) = credit term คือ รับของหรือบริการแล้วแต่จ่ายเงินตามหลัง ส่วนมากจะเป็น 30 วัน บัญชีจะบันทึกเป็นการขาย ณ​ วันที่ที่ขายออกไป แต่จะจดไว้ว่าเป็น ‘ลูกหนี้การค้า’ แค่เฉพาะช่วงรอรับเงิน - เกณฑ์เงินสด = ลงบันทึกเหมือนการทำ รายรับรายจ่าย คือรับของแล้วจ่ายเงิน ณ ตอนนั้นเลย ไม่มี credit term - ค่าเสื่อม - อาคารใหม่ตัดค่าเสื่อมที่ 20 ปี (ค่าเช่าไม่นับ) - เครื่องจักรตัดค่าเสื่อมที่ 10 ปี (ตย. laptop ถ้าเช่ามาจะไม่มีค่าเสื่อม เสียแต่ค่าเช่า แต่ถ้าซื้อมา ค่าเสื่อมจะตัดที่ 2 ปี) - ค่าเสื่อมราคา = depreciation > งบกำไรขาดทุน > ทุกอย่างมีผลต่อต้นทุน - ค่าเสื่อมราคาสะสม = Accum - งบดุล รายงานทางการเงิน - ตัวเลขทั้งหมดต้องเป็นตัวเลขจริง ถึงจะวิเคราะห์ได้ - ต้องบันทึกทุกเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้น เพราะมันจะส่งผลต่อการวางแผนและคิด strategy ในอนาคต จุดเริ่มต้นของการวางแผนธุรกิจ - Opportunity & threat เป็นปัจจัยหลักในการวิเคราะห์ เพื่อให้ทราบถึงสถานะทางการเงินของบริษัทว่ายังมีความเข้มแข็งอยู่หรือไม่ - สภาพคล่อง (เงินสด) - โครงสร้างเงินทุนเข้มแข็งพอ เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบ - เปรียบเทียบกับ performance ของตัวเราเองที่ผ่านมา - เปรียบเทียบกับคู่แข่งที่อยู่ใน level เดียวกับเรา (ถ้าเราอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำกว่าคู่แข่ง เราต้องสร้างความแตกต่างเพื่อจะเปลี่ยนไปอีก league นึงเลย) งบฐานะการเงิน สินทรัพย์ - asset - Current asset สินทรัพย์หมุนเวียน - Non current asset สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน - ต่ำกว่า 1 ปี - ที่ดิน/อาคาร/เครื่องจักร ถือว่าเป็น fixed asset - ลูกหนี้การค้า - ฝ่ายขายต้องวิเคราะห์สภาพคล่องของลูกค้าด้วย - เจ้าหนี้การค้า - supplier ที่รอรับเงินจ้างจากเรา (depend on credit term) - เงินกู้ระยะสั้น - Liabilities - 2n/10 n/20 - เป็นสูตรคร่าวๆ ว่าถ้าให้ลูกหนี้จ่ายเร็วขึ้น และ offer ส่วนลดให้เลย - ทำให้เรียน cashflow กลับมาได้เร็วขึ้นโดยที่ไม่ต้องกู้เพิ่ม - IP / Trademark / Copyright - Fixed assets > ค่าตัดจำหน่าย > อยู่ในงบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด สินทรัพย์ ต้นงวด <----> ปลายงวด สินทรัพย์ <สวนทาง> เงินสด หนี้สิน <ทิศทางเดียวกันกับเงินสด> หนี้สินเพิ่ม <----> เงินสดเพิ่ม หนี้สินลด <----> เงินสดลด ทุน เงินทุนเพิ่ม <----> เงินสดเพิ่ม กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดำเนินงาน - วิเคราะห์จากงบดุลในส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียนและหนี้สินหมุนเวียน และกำไร/ขาดทุน - Current assets / liabilities / profit & loss กระแสเงินสดจากการลงทุน - วิเคราห์จากงบดุลในส่วนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (ถาวร) กระแสเงินสดจากการจัดหาเงินทุน - วิเคราะห์งบดุลในส่วนของหนี้สินระยะยาวในส่วนของผู้ถือหุ้น การใช้อัตราส่วนทางการเงิน - การวิเคราะห์แนวโน้ม - Request post performance เพื่อหากลยุทธ์ เพื่อเพิ่ม improvement ในอนาคต - การเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมเดียวกัน - วิเคราะห์แต่ละอัตราส่วนแล้วเทียบว่าเราด้อยหรือสูงกว่าคู่แข่ง - การกำหนดเป้าหมายของธุรกิจ - เป้าหมาย KPI > leads to budget - การกำหนดเงื่อนไขต่างๆในการกู้ยืม - เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคมในเวลานั้นๆ เพื่อให้เหมาะสมกับธุรกิจ ประเภทของอัตราส่วน - สภาพคล่อง - อัตราส่วนหนุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน <มาจากงบดุล ณ วันนั้นวันเดียว> - การที่สามารถชำระหนี้สินได้และยังเหลือเงินอยู่ มากกว่า 1 แต่ไม่ควรเกิน 2 - สินค้าคงคลัง = allowance of doubtful account สูง
https://drive.google.com/file/d/1fV2CxAhzkBkfXstCIxQIDpbeAAASPJtJ/view?usp=drivesdk
ความรู้เรื่อง งบดุลว่า คือการบอกสถานะเงิน ทรัพของper day งบเงินรวมคือ งบหลายบริษัทรวมกัน งบกำไรขาดทุนคือ ตัวเลขสะสมของยอดจาย ดอกเบีย งบกระเเสเงินสด คือ การเคลื่อนไหวของเงินสด เข้าเเละออก
การบ้าน : 01 ((18 สค 2566)) 01. งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันสิ้นงวด (งบดุล) งบดุล เป็นงบการเงินแสดงฐานะของกิจการ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี (วันสิ้นงวดบัญชี) โดยจัดทำขึ้นทุกๆ รอบระยะเวลาที่กำหนดไว้ เช่น 3 เดือน, 6 เดือน, 1 ปี งบดุลแสดงความสัมพันธ์ของทรัพย์สิน หนี้สินและส่วนของเจ้าของ สมการบัญชี (Accounting Equation) สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ ตัวบ่งบอกงบฐานะ หนี้สิน และส่วนของทุน ณ วันนั้น วันเดียว คือวันที่ปิดงบ18 สิงหา ก็คือ งบ ณ วันนั้นวันเดียว ⁃ งบเงินรวม มีหลายบริาษัทฯ รวมกัน งบเฉพาะกิจการ แยกออกเป็นบริษัทเดียวที่ต้องการปิดงบ 02. งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับงวด (P&L) งบแสดงตัวเลขสะสมตั้งแต่ต้นงวดจนปิดงบ สะสมยอดขาย ต้นทุนการผลิต ดอกเบี้ยจ่าย ภาษี ค่าใช้จ่าย ในการบริหาร สุดท้ายคือกำไร สุทธิ หรือ ขาดทุนสุทธิ โดยจะนับระยะเวลาตั้งแต่ ทุก 1 มค. - 31 ธค 03. หมายเหตุประกอบงบการเงิน เป็นส่วนที่สำคัญในการใช้ประกอบการประเมินวิเคราะห์ทางการเงินของคุ่แข่ง ซึ่งจะอยู่ใน หมายเหตุ ของงบกำไรขาดทุน ซึ่งจะมีรายละเอียด หรือเกณฑ์การบันทึกบัญชีของแต่ละบริษัทฯ 04. เกณฑ์การบันทึกบัญชี ⁃ เกณฑ์สิทธิ (คงค้าง) ของ หรือสินค้า ที่จ่ายไปก่อนแต่ยังไม่ได้รับเงิน บัญชีจะบันทึกเป็นยอดขายทันที แต่ทราบว่ายังไม่ได้เงิน โดยการเงินจะไปบันทึกในส่วนของสินทรัพย์ ⁃ เกณฑ์เงินสด ขายของให้แล้วจ่ายเงินเลย -ได้รับของ บ้นทึกเป็นสินทรัพย์ เพราะยังไม่ใช้งาน ลงในสินค้าคงคลัง ส่วนเงินที่จ่ายออกไปให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย -ได้รับของ บ้นทึกเป็นสินทรัพย์ เพราะยังไม่ใช้งาน ลงในสินค้าคงคลัง แต่บริษัทฯยังไม่ได้จ่ายเงิน จะบันทึกเป็น เจ้าหนี้การค้า (account payable) เกณฑ์การคิดค่าเสื่อมราคา depreciation มาตรฐานบัญชี หากเป็นตึกใหม่ ให้ตัดค่าเสื่อมที่ 20 ปี บันทึกตึกเป็นสินทรัพย์ ในกรณีถ้าตึกมีการรีโนเวท ให้คิดค่าเสื่อมแบบ 100/10ปี **** ค่าเสื่อมราคา (depreciation) จะไปปรากฏในงบ กำไรขาดทุน **** ค่าเสื่อมราคาสะสม (accumurate) จะไปปรากฏในงบ งลดุล - ถ้าเป็นโรงานเครื่องจักร ถ้าซื้อมาใหม่ ตัดค่าเสื่อมที่ 10 ปี ส่วนอะไรที่เป็นเทคโนโลยี ส่วนใหญ่จะตัดค่าเสื่อมที่ 5-6 ปี บันชีเป็ฯคนกำหนด แต่ต้องปรึกษาผู้ตรวจสอบ 05. รายงานงบการเงิน (Financial statement) จะเอามาวิเคราะห์ต้องเป็นตัวเลขจริง ไม่มีการตกแต่งตัวเลย วิเคราะห์ SWOT เป็นการวิเคราะห์ทางคุณภาพ ** ตัวเลขจะสะท้อนกลยุทธ์ว่าเราใช้ถูกไหม 06. วิเคราะห์ลูกหนึ้การค้า เกิดจาการขายของ ขายบริการ แต่ยังไมได้รับเงิน มีเครติด หัวใจที่สำคัญคือเงินเรายังไมไ่ด้รับ และเราจะตามเก็บเงินยังไง ซึ่งฝ่ายขายต้องวิเคราะห์ลูกค้า และงบการเงินลูกค้า ลูกค้ามีโอกาสสภาพคล่องหดหายไหม จะเบี้ยวเราไหม - หนึ้สงสัยจะสุญ allowance for doutful account อันนี้เป็นหลัก conservative โดยให้ rating A = อาจจะสูญ B= อาจจะเรียกเก็บได้แค่ครึ่งหนึ่ง ทีมเซลล์ควรที่จะทำ credit reveiw กลุ่มลูกค้าทุกปี หากไม่มีลูกหนี้การค้า ในงบกำไรขาดทุน ให้เราหาจากหมายเหตุประกอบงบ หรืออีกที่ คือดูจากงบกระแสเงินสด ต้นทุนการผลิตมี 3 ประเภท แรงงานทางตรง วัสดุสิ้นเปลืองทางตรง ค่าใช้จ่ายในการผลิต ค่าใช้จ่ายในการผลิต ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าเช่า ค่าเสื่อมของอุปกรณ์ ค่าอุปโภคในกองถ่าย ทางตรง = ถ้าไม่มีเขางานไม่ออก เช่นผู้กำกับ ทางอ้อม = ถ้าไม่มีเขา งานออกอยู่ดี คือผู้บริหาร งบกระแสเงินสด (statement of Cash Flows) *** สินทรัพย์ ⁃ ปลายงวด เทียบต้นงวด สินทรพัย์เพิ่มขึ้น เงินสดลดลง ⁃ ปลายงวด เที่ยบต้นงสด สินทรัพย์ลดลง. เงินสดเพิ่มขึ้น *สินทรัพย์มีทิศทางตรงกันข้ามกับเงินสด *** หนี้สิน ⁃ ปลายงวด เทียบต้นงวด หนี้สินเพิ่มขี้น เงินสดเพิ่มขี้น ⁃ ปลายงวด เทียบต้นงวด หนี้สินลดลง เงินสดลดลง *หนี้สินและเงินสด ไปในทิศทางเดียวกัน *** ลูกหนี้การค้า ปลายงวด เทียบต้นงวด ลูกหนี้การค้าลดลง เงินสดเพิ่มขึ้น *** เจ้าหนี้การค้า ⁃ ปลายงวด เทียบต้นงวด เจ้าหนี้การค้าลดลง เงินสดลดลง ⁃ อัตราการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ มากกว่าอัตราการลดลงหนี้สิน เงินสดลด
สรุปการอ่านและวิเคราะห์งบการเงิน คลาสที่ 1 วันที่ 18 สิงหาคม 2566 รายงานทางการเงินประกอบไปด้วย 5 ส่วนสำคัญคือ 1.งบแสดงฐานการเงิน ณ วันสิ้นงวด หรือ งบดุล: แสดงสถานะสินทรัพย์ ณ วันนั้นเท่านั้น โดยแสดงอัตราส่วนสินทรัพย์ต่อทุน งบดุลสามารถระบุเป็น quarterly basis (ระบบไตรมาส) ได้เช่นกัน 2.งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับงวด (งบกำไรขาดทุน – P&L): แสดงเป็นตัวเลขสะสมตั้งแต่วันแรกของวันปีงบประมาณ ระบุเป็น “กำไรสุทธิ” หรือ “ขาดทุนสุทธิ” 3.งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของสำหรับงวด 4.งบกระแสเงินสดสำหรับงวด: แสดงสถานะทางการเงินว่าเงินมาเข้ามาจากช่องทางใดและใช้จ่ายทางช่องทางใดบ้างในแต่ละงวด 5.หมายเหตุประกอบการเงิน: ระบุรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับงบการเงินที่ไม่ปรากฏเป็นตัวเลข *เป็นส่วนสำคัญในการวิเคราะห์งบประมาณ ประโยชน์ของการอ่านงบการเงิน : ทำให้เราเข้าใจโครงสร้าง การดำเนินการ และการบริหารเงินขององค์กร > นำไปสู่การ forecast และวางแผนการบริหารจัดการขององค์กรต่อในอนาคต : ช่วยให้เห็นภาพรวมของบริษัท/องค์กร เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบกับบริษัทคู่แข่ง ความสามารถในการแข่งขันของบริษัทเมื่อเทียบกับภาพของอุตสาหกรรม : ใช้ในการประเมินสถานะทางการเงินของบริษัท โครงสร้างงบกำไรขาดทุน รายได้ - ต้นทุนการผลิต (ประกอบด้วย แรงงานทางตรง, วัสดุสิ้นเปลืองทางตรง, ค่าใช้จ่ายในการผลิต: ค่าเสื่อม ค่าน้ำค่าไฟ ค่า maintenance ฯลฯ) = กำไรขั้นต้น (ไม่ควรต่ำกว่า 30%) - ค่าใช้จ่ายในการขาย (อยู่ที่ 5-6% ไม่ควรสูงกว่า 7-8%) - ค่าใช้จ่ายในการบริหาร (ไม่ควรเกิน 11% Max ที่ 13%) = กำไรจากการดำเนินงาน - ต้นทุนทางการเงิน (ดอกเบี้ยจ่าย *ดอกเบี้ยระยะยาว) = กำไรก่อนภาษี - ภาษี (20-25% จากกำไรก่อนภาษี) = กำไรสุทธิ อัตราส่วนทางการเงิน เป็นการกำหนดอัตราส่วนจากตัวเลขทางการเงินเพื่อให้วิเคราะห์ตัวเลขและตีความให้ความหมายตัวเลขต่างๆ อัตราส่วนทางการเงินสามารถนำมาใช้เพื่อการเปรียบเทียบได้อีกด้วย > แสดงให้เห็นความสามารถในการขาย การสร้างรายได้ การบริหารเงิน การลงทุน ความสามารถในการระบายสินค้า เป็นต้น *ข้อควรระวัง: ตัวเลขทางการเงินมีแบบที่เป็น งบดุล (แสดง ณ วันนั้นๆ) และ งบกำไรขาดทุน (แสดงตัวเลขสะสม) ทำให้การคำนวณอัตราส่วนทางการเงินไม่สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ทันที ต้องดูตัวเลขที่เกี่ยวข้องกันหรือตัวเลขเดียวกันในไตรมาสและปีอื่นๆ ประกอบร่วมด้วย
งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) (Balance Sheet): แสดง ณ วันนั้น วันเดียว - ดุล คือ ดุลระหว่าง สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทรัพย์สินของเจ้าของ (ทุน) - สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทรัพย์สินของเจ้าของ (ทุน) *ณ วันนั้น และต้อง Balance* - ค่าเสื่อมสะสม (Accumulate Depreciation) แสดงอยู่ในนี้ งบกำไรขาดทุน (Profit & Loss): แสดงตัวเลขสะสมของยอดขาย / ค่าใช้จ่าย - ค่าเสื่อมราคาแสดงอยู่ในนี้ เกณฑ์การคิดค่าเสื่อมราคา (Depreciation) - อาคารใหม่ บ.ลงทุน 20 ปี - เครื่องมือ / เครื่องจักร (ถ้าซื้อใหม่) 10 ปี - พวก equipment ที่เปลี่ยนเร็ว (tech) บัญชีสามารถกำหนดเกณฑ์การคิดค่าเสื่อมเองได้ แต่ audit ต้อง approve เพื่อไม่ให้มีปัญหากับ RD ค่าเสื่อมราคา: ตัดเป็นค่าใช้จ่าย มีผลต่อการคิดต้นทุน ยิ่งตัดสูงค่าใช้จ่ายยิ่งสูง *ค่าใช้จ่ายในที่นี้หมายถึงค่าใช้จ่ายทางบัญชีเท่านั้น เงินสดไม่ได้ออกไปจริง* Sample: ปีที่ 0 ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 Value 100 80 60 40 20 0 Depreciation 100 20 20 20 20 20 Accu Depre 0 20 40 60 80 100 Inventory: ใช้แล้วทิ้ง บันทึกได้ 2 แบบ 1. คิดเป็นค่าเฉลี่ย: ชิ้นละ 100 ต้นทุน 10 ชิ้นละ 100 ต้นทุน 15 ดังนั้น cost = 12.5 2. FIFO > First In, First Out งบที่เอามาวิเคราะห์: - สอดคล้องกับการกำหนด Strategy - ควรรู้ว่า internal / external ในช่วงนั้นเกิดอะไรขึ้นบ้าง เอามาเทียบกับ performance - สามารถวิเคราะห์จุดแข็ง / จุดอ่อน ในเชิงปริมาณ ได้ *จะบอกได้ว่าบริษัทยังมีสภาพคล่องเพียงพอหรือไม่ *ใช้เปรียบเทียบกับคู่แข่งใน Level เดียวกัน > คู่แข่งกำลังทำอะไร / ไปทางไหน / เราเป็นผู้นำหรือผู้ตาม นำไปแค่ไหน? เราต้องสร้างความแตกต่าง, เปรียบเทียบกับตัวเอง , เปรียบเทียบ industry ต้นทุนการผลิต: 1. วัสดุสิ้นเปลืองทางตรง 2. แรงงานทางตรง 3. ค่าใช้จ่ายในการผลิต (ควรอยู่ที่ 11-13%) กำไรขั้นต้น ควรมีอย่างน้อย 30% / ค่าใช้จ่ายในการขาย ไม่ควรเกิน 7-8% / ค่าใช้จ่ายในการบริหารลดยากเพราะคือเงินเดือน การใช้อัตราส่วนทางการเงิน: - การวิเคราห์แนวโน้ม > ของแต่ละปีว่า + - ดู performance ในอดีต / Predict trend in the future / บอก activity for improvement - สามารถใช้ Set เป็น KPI และ Link กับการ Set budget ได้ การบริหารสินทรัพย์: เป็นตัวบอกว่าเราใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์นี้ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดำด้เท่าไร (Maximize Utility) อัตราการหมุนสินค้าคงคลัง (Inventory Turnover) = ยอดขาย (มาจากงบกำไรขาดทุน) / สินค้าคงคลัง > ยิ่งสูงยิ่งดี เกิน 10 ยิ่งดี (No Limit) จำนวนวันการแปลงเงินสด = 360 / อัตราหมุนสินค้าคงคลัง > ยิ่งน้อยยิ่งดี
ส่งการบ้านครั้งที่ 1 A) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันสิ้นงวด (งบดุล) (Balance Sheet) งบดุล เป็นงบการเงินแสดงฐานะของกิจการ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี (วันสิ้นงวดบัญชี) โดยจัดทำขึ้นทุกๆ รอบระยะเวลาที่กำหนดไว้ เช่น 3 เดือน, 6 เดือน, 1 ปี งบดุลแสดงความสัมพันธ์ของทรัพย์สิน หนี้สินและส่วนของเจ้าของ สมการบัญชี (Accounting Equation) สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ ตัวบ่งบอกงบฐานะ หนี้สิน และส่วนของทุน ณ วันนั้น วันเดียว คือวันที่ปิดงบ เช่น เจ้านายบอกให้ปิดงบวันที่ 18 สิงหา ก็คือ งบ ณ วันนั้นวันเดียว ⁃ งบเงินรวม มีหลายบริาษัทฯ รวมกัน ⁃ งบเฉพาะกิจการ แยกออกเป็นบริษัทเดียวที่ต้องการปิดงบ หมายเหตุ ในงบดุล เป็นตัวเลขลักษณะ 3, 2, 3.5 ซึ่งเราจะไปดูอีก sheet หนึ่งเพื่อดูความหมายของมัน ซึ่งแล้วแต่บริษัทฯ จะกำหนดว่าตัวเลขนั้นแสดงแทนความหมายว่าอะไร B) งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับงวด (P&L) งบแสดงตัวเลขสะสมตั้งแต่ต้นงวดจนปิดงบ สะสมยอดขาย ต้นทุนการผลิต ดอกเบี้ยจ่าย ภาษี คชจ ในการบริหาร ท้ายสุดคือกำไร สุทธิ หรือ ขาดทุนสุทธิ โดยจะนับระยะเวลาตั้งแต่ ทุก 1 มค. - 31 ธค Note ตัวอย่างคำถาม ถ้า งบดุลโชว์วันที่ 31 มีนาคม แสดงว่างบกำไรขาดทุนจะโชว์วันที่ 1 มค. - 31 มีค. D) หมายเหตุประกอบงบการเงิน เป็นส่วนที่สำคัญในการใช้ประกอบการประเมินวิเคราะห์ทางการเงินของคุ่แข่ง ซึ่งจะอยู่ใน หมายเหตุ ของงบกำไรขาดทุน ซึ่งจะมีรายละเอียด หรือเกณฑ์การบันทึกบัญชีของแต่ละบริษัทฯ E) เกณฑ์การบันทึกบัญชี ⁃ เกณฑ์สิทธิ (คงค้าง) ของ หรือสินค้า ที่จ่ายไปก่อนแต่ยังไม่ได้รับเงิน บัญชีจะบันทึกเป็นยอดขายทันที แต่ทราบว่ายังไม่ได้เงิน โดยการเงินจะไปบันทึกในส่วนของสินทรัพย์ คือ ลูกหนี้การค้า account receiveable (ในกรณีที่จ่ายเงินแล้วตามเวลาที่ตกลง บันชีจะลบลูกหนี้การค้าออก และลงบันทึก เงินสดแทน) ⁃ เกณฑ์เงินสด ขายของให้แล้วจ่ายเงินเลย -ได้รับของ บ้นทึกเป็นสินทรัพย์ เพราะยังไม่ใช้งาน ลงในสินค้าคงคลัง ส่วนเงินที่จ่ายออกไปให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย -ได้รับของ บ้นทึกเป็นสินทรัพย์ เพราะยังไม่ใช้งาน ลงในสินค้าคงคลัง แต่บริษัทฯยังไม่ได้จ่ายเงิน จะบันทึกเป็น เจ้าหนี้การค้า (account payable) *ในกรณีโอนเงินซึ่งตกลงกันไว้ว่าจ่ายเงินสด แต่เราโอนให้เขาช้าไปสองวัน อันนี้ให้ไปดูว่านโยบายบริษัทฯ เขียนไว้ยังไง ⁃ เกณฑ์การคิดค่าเสื่อมราคา depreciation มาตรฐานบัญชี หากเป็นตึกใหม่ ให้ตัดค่าเสื่อมที่ 20 ปี บันทึกตึกเป็นสินทรัพย์ ในกรณีถ้าตึกมีการรีโนเวท ให้คิดค่าเสื่อมแบบ 100/10ปี *ค่าเสื่อมราคา (depreciation) **จะไปปรากฏในงบ กำไรขาดทุน *ค่าเสื่อมราคาสะสม (accumurate) **จะไปปรากฏในงบ งลดุล - ทำไมค่าเสื่อมมีความสำคัญ ภาษาบันชี มีความด้วยค่าของสินทรัพย์ แต่จะไม่นิยมตัดค่าเสื่อมทีเดียว ให้ทยอยตัดค่าเสื่อม - ถ้าเป็นโรงานเครื่องจักร ถ้าซื้อมาใหม่ ตัดค่าเสื่อมที่ 10 ปี - ส่วนอะไรที่เป็นเทคโนโลยี ส่วนใหญ่จะตัดค่าเสื่อมที่ 5-6 ปี บันชีเป็ฯคนกำหนด แต่ต้องปรึกษาผู้ตรวจสอบ สมมุติ เครื่องตัดต่อ มูลค่า 100 ล้านบาท F) รายงานงบการเงิน (Financial statement) จะเอามาวิเคราะห์ต้องเป็นตัวเลขจริง ไม่มีการตกแต่งตัวเลย Essencial : อดีตจะเอาเป็นฐานการวิเคราะห์ เราควรจดไว้ว่า เหตุการณืต่างๆ ที่เกิดขึ้น ณ เวลานั้นๆ เราควรจดเหตุการณ์ไว้ เพื่อเอาไว้ประมาณการณ์ และเราใช้กลยุทธ์อะไรในการรองรับเหตุการณ์นั้นๆ วิเคราะห์ทางการเงิน เป็นวิเคราะห์ทางปริมาณ วิเคราะห์ SWOT เป็นการวิเคราะห์ทางคุณภาพ ** ตัวเลขจะสะท้อนกลยุทธ์ว่าเราใช้ถูกไหม เพื่อนำไปใช้ในการประมาณการ 1 Plan 2.Budgeting 3.Evaluate KPI ของแต่ละ BU G) วิเคราะห์ลูกหนึ้การค้า เกิดจากากรขายของ ขายบริการ แต่ยังไมได้รับเงิน มีเครติด หัวใจที่สำคัญคือเงินเรายังไมไ่ด้รับ และเราจะตามเก็บเงินยังไง ซึ่งฝ่ายขายต้องวิเคราะห์ลูกค้า และงบการเงินลูกค้า ลูกค้ามีโอกาสสภาพคล่องหดหายไหม จะเบี้ยวเราไหม ทำไมเราต้องวิเคราะห์ลูกหนี้การค้าสุทธิ ในงบกำไรขาดทุน จะแสดงให้เห็นว่า ยังไม่หัก หรือเก็บเงินมา - หนึ้สงสัยจะสุญ allowance for doutful account อันนี้เป็นหลัก conservative โดยให้ rating A = อาจจะสูญ B= อาจจะเรียกเก็บได้แค่ครึ่งหนึ่ง ทีมเซลล์ควรที่จะทำ credit reveiw กลุ่มลูกค้าทุกปี หากไม่มีลูกหนี้การค้า ในงบกำไรขาดทุน ให้เราหาจากหมายเหตุประกอบงบ หรืออีกที่ คือดูจากงบกระแสเงินสด Aging 1-30 = 0.25% , 31-60 = 0.60% , 61-90 = 0.75%, 91-120 = 1% Note: เมื่อยอดขายเพิ่มขึ้น ยอดหนึ้สงสัยจะสูญก็จะเพิ่มตาม แต่การคิด ต้องคิดในอัตราการเพิ่มขึ้นของยอดขาย และอัตราการเพิ่มขึ้นยอดหนี้สงสัยจะสูญ Note : อัตราของยอดหนึ้สงสัยจะสูย เพ่ิมขึ้นมากกว่า ยอดอัตราการเพ่ิมขึ้นของยอดขาย อันนี้ให้สงสัยว่าลูกค้าเร่ิมมีปัญหา ดังนั้นทีมขายของเรา ต้องรู้ว่าลูกค้าของคู่แข่งเป็นใครและต้องไม่รับ เพราะจะเพ่ิมหนี้สูญให้บริษัทฯ ต้องดูย้อนหลังไป 5-6ปี Q เราจะแก้ปัญหานี้ยังไง ⁃ เอางบการเงินของลูกค้าย้อนหลังแต่ละปี มาวิเคราะห์เพื่อดูว่ามีประเด็นอะไรที่ติดขัด สอนทีมขายให้ไปถามลูกค้า และนำกลับมาคุยกับอาจารย์ และนำวิธีไปให้ลูกค้าปรับ เพื่อให้ลูกค้าไม่ติดลย และเราไม่ได้รับหนี้สูญ ต้องให้ทีมงานขายของบการเงินลูกค้าที่เป็ฯงบการเงินจริง ไม่ใช่งบตกแต่ง H) สินค้าคงคลัง ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์สมัยก่อนคือ ฟิล์มที่เป็น inventory - สิ่งนี้อยู่ในหมวด สินทรัพย์ถาวร Hard disk , server , computer ในการตัดต่อ - สิ่งนี้อยู่ในหมวด มูลค้าไม่เยอะ ลงเป็ฯ ค่าใช้จ่าย การทำของชำร่วย เข็มกลัด เสื้อแจก Note: หากไม่มี inventory คือการดี เพราะไม่จำเป็นต้องลงทุนใน inventory ถ้ามี inventory บริษัทฯ ต้องมี warehouse ด้วยในภาษาบัญชี ต้นทุนการผลิตมี 3 ประเภท แรงงานทางตรง วัสดุสิ้นเปลืองทางตรง ค่าใช้จ่ายในการผลิต ค่าใช้จ่ายในการผลิต ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าเช้า set ค่าเสื่อมของอุปกรณ์ ค่าอุปโภคในกองถ่าย ⁃ ทางตรง = ถ้าไม่มีเขางานไม่ออก ผู้กำกับ visual deginer ⁃ ทางอ้อม = ถ้าไม่มีเขา งานออกอยู่ดี คือผู้บริหาร producer i) งบกระแสเงินสด (statement of Cash Flows) >>สินทรัพย์ ⁃ ปลายงวด เทียบต้นงวด สินทรพัย์เพิ่มขึ้น เงินสดลดลง ⁃ ปลายงวด เที่ยบต้นงสด สินทรัพย์ลดลง. เงินสดเพิ่มขึ้น ⁃ *สินทรัพย์มีทิศทางตรงกันข้ามกับเงินสด >>หนี้สิน ⁃ ปลายงวด เทียบต้นงวด หนี้สินเพิ่มขี้น เงินสดเพิ่มขี้น ⁃ ปลายงวด เทียบต้นงวด หนี้สินลดลง เงินสดลดลง ⁃ *หนี้สินและเงินสด ไปในทิศทางเดียวกัน >>ลูกหนี้การค้า ⁃ ปลายงวด เทียบต้นงวด ลูกหนี้การค้าลดลง เงินสดเพิ่มขึ้น >>เจ้าหนี้การค้า ⁃ ปลายงวด เทียบต้นงวด เจ้าหนี้การค้าลดลง เงินสดลดลง ⁃ อัตราการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ มากกว่าอัตราการลดลงหนี้สิน เงินสดลด
รายงานการเงิน ประกอบไปด้วย 1. งบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันสิ้นงวด (งบดุล / Balance sheet) ซึ่งจะแสดงสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของทุน จนถึง ณ วันนั้นวันเดียว ซึ่งอาจทำเป็นอีกรูป เป็นรายไตรมาสก็ได้ (ส่วนงบสะสม คือ 1 มค. – 31 ธค.) 2. งบกำไรขาดทุน / Profit & Loss 3. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของสำหรับงวด 4. งบกระแสเงินสดสำหรับงวด 5. หมายเหตุประกอบการเงิน (สำคัญต่อการวิเคราะห์ทางการเงิน โดยเฉพาะเมื่อต้องการเปรียบเทียบกับคู่แข่ง ซึ่งการวิเคราะห์ต้องใช้ตัวเลขจริงเท่านั้น) **สินทรัพย์ = หนี้ + ทุน เกณฑ์การคิดค่าเสื่อมราคา / Depreciation อยู่ในส่วนของงบดุล มีผลต่อต้นทุนการผลิต ตัดเป็นค่าใช้จ่ายทางบัญชีเท่านั้น เงินสดไม่ได้ทำการจ่ายออกไปจริง โดยส่วนใหญ่จะคิดค่าเสื่อมต่อปีแบบสะสม State line คือ คิดค่าเสื่อมเฉลี่ยแต่ละเดือนเท่าๆ กัน เช่น โรงงานตัดค่าเสื่อม 10 ปี ตึกสร้างใหม่ตัด 20 ปี Notebook ตัด 2 ปี โดยค่าเสื่อมนี้สามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้ เกณฑ์การบันทึกบัญชี 1. เกณฑ์สิทธิ / เกณฑ์คงค้าง คือ การให้ของไปก่อน แต่ยังไม่ได้รับเงิน (ให้เครดิต) 2. เกณฑ์เงินสด คือ รายการรับหรือจ่ายที่เป็นเงินสด - เจ้าหนี้ทางการค้า (Account Payable) - ลูกหนี้ทางการค้า (Account Receivable) เช่น ถ้าขายของไปแล้ว จ่ายแล้ว แต่ของยังไม่ได้ใช้งาน บัญชีจะบันทึกเป็น “สินค้าคงคลัง” ถ้าจ่ายแล้ว ใช้งานแล้ว บัญชีจะบันทึกเป็น “สินทรัพย์” ประโยชน์จากรายงานการเงิน 1. จุดเริ่มต้นของการวางแผนธุรกิจ 2. เพื่อทราบสถานะการเงินของบริษัทว่าเข้มแข็งอยู่หรือไม่ มีสภาพคล่องเพียงพอไหม (โครงสร้างเงินทุน คือ หนี้สิน และทุน ควรเป็นสัดส่วน 2:1 ถึงจะกู้ธนาคารได้) 3. เพื่อใช้เปรียบเทียบ - ตัวเอง ดู Performance ที่ผ่านมา - คู่แข่ง อ่านเกมว่าคู่แข่งกำลังทำอะไรอยู่ - Industry ดูทิศทางของอุตสาหกรรม บริษัทเราเป็นผู้นำหรือผู้ตาม 4. วิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง 5. เพื่อให้ทราบถึงสถานะด้านทรัพย์ หนี้สิน ทุน, ด้านผลการดำเนินงาน และด้านกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน งบฐานะทางการเงิน สินทรัพย์ / Asset (สภาพคล่องเรียงจาก 1 ไป 5) 1. เงินสด เก็บตาม “ฐานนิยม” 100 + 10% = 110 คือดูจากกระแสที่มีการจ่ายมากและบ่อยที่สุด (ฐานความถี่ ที่เกิดขึ้นบ่อยสุด” 2. ลูกหนี้การค้า เกิดจากการขาย แต่ยังไม่ได้รับเงิน 3. สินค้าคงคลัง / Inventory พวกสินค้าใน Stock 4. สินทรัพย์หมุนเวียน / Current Asset คือสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูง ที่สามารถแปลงเป็นเงินสดได้ภายใน 1 ปี 5. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน / Current Asset ใช้เกิน 1 ปี เช่น ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร ซึ่งถือว่าเป็น “สินทรัพย์ถาวร / Fixed Asset) เพราะแปลงเป็นเงินสดได้ช้า พวกลิขสิทธิ์ ก็ถือว่าเป็นสินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์ถาวรสุทธิ สุทธิจาก ค่าเสื่อมราคาสะสม หนี้สินและส่วนของเจ้าของ 1. หนี้สินหมุนเวียน 2. เจ้าหนี้ทางการค้า คือ เราได้ของมาใช่ก่อน แต่ยังไม่ได้จ่ายตัง 3. เงินกู้ระยะสั้น 4. หนี้ระยะยาว 5. ทุนจดทะเบียน OD (Overdraft) คือ การเบิกเงินเกินบัญชี Amortization คือ ค่าตัดจำหน่าย อยู่ในงบกำไรขาดทุน ตัดเป็นค่าใช้จ่ายตามแบบบัญชีเท่านั้น ไม่ได้จ่ายเงินจริง 2n/10 คือ การจ่ายภายใน 10 วัน ได้ส่วนลด 2% (2% นี้คือต่อวัน) วิเคราะห์ลูกหนี้สุทธิ / Allowance for doubtful Account เพื่อวิเคราะห์หนี้สงสัยจะสูญ หาจากหมายเหตุประกอบงบ และงบกระแสเงินสด วิเคราะห์ Aging 1 – 30 0.25% 31 – 60 0.6% 61 – 90 0.075% 91 – 120 1% ยอดขายเพิ่มขึ้น หนี้สงสัยจะสูญก็เพิ่มขึ้นตาม Rate Aging (คิดในอัตราของยอดขาย และ อัตราการเพิ่มของยอดหนี้สงสัยจะสูญ) งบกำไรขาดทุน - ต้นทุนการผลิต 1. แรงงานโดยตรง 2. วัตถุดิบโดยตรง 3. ค่าใช้จ่ายการผลิต - ค่าใช้จ่ายในการขาย ไม่ควรเกิน 7 - 8% - ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ไม่ควรเกิน 11% - กำไรขั้นต้น 30% - กำไรสุทธิ 15% งบกระแสเงินสด / Statement of Cash Flows แสดงการเคลื่อนไหวของเงินสดเข้าออก ทำให้ทราบถึง 1. สิ่งที่เชื่อมโยงกิจกรรมการดำเนินงาน การลงทุน และการจัดหาเงินเข้าด้วยกัน 2. กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน (งบดุลในส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียน Asset Liability และหนี้สินหมุนเวียน Profit & Loss) 3. กระแสเงินสดจากการลงทุน (วิเคราะห์จากงบดุลในส่วนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เช่น ลิขสิทธิ์หนัง สินทรัพย์ถาวร) 4. กระแสเงินสดจากการจัดหาเงินทุน (หนี้ระยะยาว และผู้ถือหุ้น) กระแสเงินสด ปลายงวดเทียบกับต้นงวด (สินทรัพย์มีทิศทางตรงกันข้ามกับเงินสด) สินทรัพย์ เพิ่ม เงินสด ลด สินทรัพย์ ลด เงินสด เพิ่ม หนี้สิน ปลายงวดเทียบกับต้นงวด (สินทรัพย์มีทิศทางเดียวกันกับเงินสด) หนี้สิน ลด เงินสด ลด หนี้สิน เพิ่ม เงินสด เพิ่ม ทุน เพิ่มทุน มีแต่เงินเข้า ค่าใช้จ่ายเพิ่ม เงินออก ROA (Return on Asset) อัตราผลตอบแทนจาก Asset เป็นสัดส่วนระหว่าง กำไรสุทธิ และสินทรัพย์รวม เวลาลงทุน ให้เทียบ ฐานอัตราส่วนของการเงินเท่านั้น สภาพคล่อง / Liquidity บ่งบอกว่า ชำระหนี้สินหมุนเวียนได้แล้วยังมีเงินสดแหลืออยู่ อัตราส่วนหมุนเวียน มากกว่า 1 คือ ดี มากกว่า 1 มากๆ คือ ไม่ดี (ถ้าเกินมาก แสดงว่า มีสินทรัพย์หมุนเวียนมาก แต่มีประสิทธิภาพในการบริหารไหม ไม่ควรเกิน 2 และไม่ควรต่ำว่า 0.7) อัตราส่วนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน ÷ หนี้สินหมุนเวียน อัตราส่วนสภาพคล่องอย่างจำกัด = (สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงคลังที่แปลงเป็นเงินสดได้) ÷ หนี้สินหมุนเวียน การบริหารสินทรัพย์ Asset Management เพื่อดูว่าใช้สินทรัพย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดหรือยัง อัตราการหมุนสินค้าคงคลัง = ยอดขาย ตัวเลขสะสม ÷ สินค้าคงคลัง Inventory Turn Over จำนวนยิ่งสูงยิ่งดี จำนวนวันการแปลงเงินสด = 360 วัน ÷ อัตราการหมุนสินค้าคงคลัง
สิ่งที่เรียนในการอบรมวันแรกคือ -การปรับ mindset -ประเภทของรายงานทางการเงินต่างๆ -ความแตกต่างของตัวเลขทางการเงินในงบดุลและงบกำไรขาดทุน ซึ่งงบดุลเป็นตัวเลข ณ วันสิ้นงวดนั้นๆ แต่งบกำไรขาดทุนเป็นตัวเลขสะสมตั้งแต่ต้นงวดจนถึงปิดงบ -ความสำคัญของหมายเหตุประกอบงบการเงิน -ประโยชน์จากรายงานทางการเงิน เข้าใจความหมายของลูกหนี้การค้าสุทธิ, ค่าเสื่อมราคาสะสม -รูปแบบของงบกำไรขาดทุนที่ง่ายต่อการวิเคราะห์ performance ของการดำเนินงาน -กิจกรรม 3 ประเภทที่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดของบริษัท -ความสัมพันธ์ของทิศทางของเงินสด ต่อสินทรัพย์ และหนี้สิน/ทุน -เหตุผลที่ต้องทำการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน คือ ต้องเปรียบเทียบบนฐาน 1 หน่วยที่เท่ากัน -ในการวิเคราะห์แนวโน้มในอนาคต จะต้องดูข้อมูลย้อนหลังประกอบด้วย เพื่อหาจุดที่จะพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพสูงขึ้น -ประเภทของอัตราส่วนทางการเงิน และการนำไปใช้ ซึ่งต้องศึกษาถึงสถานการณ์จริงของการดำเนินงานประกอบด้วย
ได้เรียนรู้ถึงการศึกษางบเบื้องต้นเพื่อทราบถึงการวางตัวโปรเจค วางแผนการใช้เงิน การดูงบ underlying costs and assetsต่างๆ และได้ตระหนักมากขึ้นถึงค่าใช้จ่ายในโปรเจคแต่ละอย่างที่มีต้นทุนมากมาย นอกจากนี้ยังรู้ถึงการวิเคราะห์โครงการที่ได้รับมอบหมายในเชิงการเงินเพื่อที่จะได้มีการบริหารที่ได้ประสิทธิภาพมากขึ้นอีกด้วย
มีความเข้าใจ ในเรื่องของการวิเคราะห์ งบการเงิน เพื่อการตัดสินใจ ในการนำไปใช้ใน โปรเจ็คและการทำงาน มากขึ้น
เรียนรู้ว่า 8 ใกล้กับ 10 hahahaha อะย้อเย้นนนน เนียนรู้เรื่องการคำนวนเงินเเละวิธีการต่อรอง sub vendor
- เรื่องงบการเงิน งบดุล งบกำไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด - การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
การเข้าใจการอ่าน Financial Report พื้นฐานโดยรวม

Send a message click here
or scan QR Code below.
Embedded QR Code